กระบวนวิชา 206266
Mathematics for Everyday Life (คณิตศาสตร์สำหรับชีวิตประจำวัน)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
- นักศึกษาสามารถซื้อเอกสารประกอบการสอนได้ที่ ร้านถ่ายเอกสาร ภาควิชาชีววิทยา
ลำดับที่นักศึกษาจากเว็บไซต์สำนักทะเบียน :
- ดูลำดับที่ของนักศึกษา และกลุ่มเรียนหลังสอบกลางภาค (หากนักศึกษาทำ Quiz โดยใช้กระดาษ ต้องใส่ลำดับที่ให้ถูกต้อง)
ผู้สอน:
อาจารย์ ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์
ห้องพัก: MB 2101 (ตึกคณิตศาสตร์ ชั้น 1)
โทรศัพท์: (053) 94-332ุ6 ต่อ 108
อีเมล์: kettapun[at]gmail.com
Facebook: Atichart Kettapun
เว็บไซต์: www.atichart.com
Facebook Group ของรายวิชา : Math266 2/2563
วันเวลาและสถานที่สอน : อังคารและศุกร์ เวลา 13.00-14.30 น. ณ SCB1100
Office Hours : นักศึกษาสามารถนัดพบผู้สอนได้โดยตรง
สัดส่วนการให้คะแนน :
- กิจกรรมในห้องเรียน (Class Activities) 20 %
- โครงงาน (Projects) 30 %
- คะแนนสอบกลางภาค (Midterm Exam) 25 %
- คะแนนสอบปลายภาค (Final Exam) 25 %
ประกาศคะแนนเก็บและคะแนนสอบ : ดูได้ใน MS Teams กระบวนวิขานี้
สอบกลางภาค : วันอังคารที่ 26 มกราคม 2564 เวลา 15.30-18.30 น. / หากนักศึกษาไม่ใส่ชุดนักศึกษาตามระเบียบ มช. กรรมการคุมสอบมีสิทธิ์ที่ไม่ให้นักศึกษาเข้าสอบ ในกรณีที่อนุญาตให้เข้าสอบได้จะมีการหักคะแนนสอบ / ให้ นศ. เตรียมปากกา หรือดินสอ 2B พร้อมทั้งยางลบ และน้ำยาลบคำผิดมาด้วย สำหรับการสอบด้วย อนุญาตให้เอาเฉพาะเครื่องคิดเลขธรรมดาเข้าห้องสอบ (ห้ามนำเครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์เข้าห้องสอบ)
Office Hours ก่อนสอบกลางภาค นักศึกษาสามารถนัดวันเข้ามาปรึกษาได้
สอบปลายภาค : วันอังคารที่ 30 มีนาคม 2564 เวลา 12.00-15.00 น.
แหล่งข้อมูลประกอบการเรียนการสอน :
1) เอกสารทั่วไปเกี่ยวกับกระบวนวิชา
- ข้อตกลงรายวิชา 206266 (ไฟล์ PDF)
- ข้อมูลการจัดทำผลงาน ชิ้นที่ 1 (ไฟล์ PDF)
- ข้อมูลการจัดทำผลงาน ชิ้นที่ 2 (ไฟล์ PDF)
- เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมกลุ่มในห้องเรียนโดยเพื่อนร่วมกลุ่ม (ไฟล์ PDF)
- ไฟล์สำหรับกรอกรายชื่อสมาชิกในกลุ่มและข้อมูลการทำรายงานหรือผลงาน (ไฟล์ Excel, ไฟล์ PDF)
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยเครื่องแบบนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ.2555
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยการสอบของนักศึกษา พ.ศ.2554
- ประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง เงื่อนไขการมีสิทธิ์ได้รับการวัดและประเมินผลในกระบวนวิชา
2) เอกสารอ้างอิงในกระบวนวิชานี้
- สมัย ยอดอินท์ และทิพวรรณ พุทธสนธิพจน์, คณิตศาสตร์กับชีวิตประจำวัน, พิมพ์ครั้งที่ 2, ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2555.
- สมัย ยอดอินท์ และคณะ, งานวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่องการเป็นหรือไม่เป็นปีอธิกมาสของปฏิทินจันทรคติไทย ปี พ.ศ. 2555, พิมพ์ครั้งที่ 1, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2555.
- ลอย ชุนพงษ์ทอง, ปฏิทินไทยเชิงดาราศาสตร์ และคณิตศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 1, รัฐยาการพิมพ์, 2550.
3) ตัวอย่างผลงานนักศึกษารุ่นก่อน
3.1 คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์กับอารยธรรม
- O(ld) Clock – แบบวิดีทัศน์ ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 (A+)
- ไขปริศนาปัญหารอบเอว – แบบวิดีทัศน์ ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 เอกสารการศึกษา (A+)
- วัดชัยมงคล ความรุ่งเรืองแห่งอดีตกาล ของวัดวาอารามล้านนา – แบบรายงาน พร้อมไฟล์นำเสนอ (A+)
- ต๊ะต่วงตวงของล้านนา – แบบโมเดล วิดีทัศน์ และรายงาน (A+)
- ข้ามเวลาพิสูจน์หน่วยวัดโบราณ – แบบวิดีทัศน์ (A)
3.2 แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (ผลงานแบบวิดีทัศน์ทั้งหมด)
- COVID-19 Forecasting with Mathematical Model ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 (A+)
- มีอยู่หรือหมดไป ? ประชากรไทยในอีก 50 ปี (A)
- ตั๋วฮู้จั๊กการแป้ระบาดของโรคไข้เลือดออกก่อ ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 (A)
- เรื่องหมูๆ(อู๊ดอู๊ด eat eat) ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 (A+)
- ข่าวลือแพร่กระจายได้เร็วแค่ไหนกันนะ ? ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 (A+)
- อิสุ๊กอิใส๊ ยะจะไดดี (A+)
- แม่หมอทำนายจำนวนประชากรโลก (A+)
- ถั่วงอกตัวร้าย…สู่นายถั่วเขียว
- คณิตศาสตร์ของความรัก ที่อาจจะไม่ได้ง่ายแค่ “ฉัน+เธอ=เรา” (A)
- อดีตเขียว เดี๋ยวนี้งอก (A+)
- แบบจำลองความสุขของไข่ต้ม
- ไม่ใช่หมอดูก็รู้นะ (A+)
- ไขปริศนาเส้นทางการเเพร่ระบาดของโรคซาร์ส ด้วยเเบบจำลองทาง (A+)
- น้องไผ่สุดไฉไล งอกยังไง เอ๊ะ! สงสัยจัง
- ต้นไผ่ ยาวมากแค่ไหนในแต่ละวัน?? (A)
- สงครามในบ่อปลา (โมเดลคณิตศาสตร์ และ แบบจำลองชิ้นงาน)
- Population Forcasting ✨ (A+)
- จะมีมนุษย์เกิดขึ้นมาอีกเท่าไหร่ใน 100 ปีข้างหน้า
- ไข้เลือดออกจ๋า มาพยากรณ์กัน (A)
- ภาวะโลกร้อนพาย้อนผ่านสมการ