งานวิจัยคณิตศาสตร์ในยันต์ล้านนา
Mathematics in Lanna Yantra Research Project

การศึกษาเรื่องยันต์เชิงคณิตศาสตร์ สามารถทำให้คนทั่วไปเห็นความสามารถของคนโบราณทางด้านคณิตศาสตร์ได้ดี ทำให้คนสนใจการศึกษาประวัติศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์มากยิ่งขึ้น  อ่านต่อ

 

 

 

 

 

2013Pagoda_UpSideDownSโครงการบูรณาการคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ล้านนาIntegrated Mathematics and Science for Lanna Studies Project  

ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์และทีมงานวิจัย จากห้องปฏิบัติการวิจัยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดทำโครงการบูรณาการคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ล้านนา  อ่านต่อ

 

 

 

 

2011-02-23HistoryMathCamp_03

โครงการประวัติศาสตร์บูรณาการในมิติคณิตศาสตร์ Integrade history with Mathematics

Projectในปัจจุบันนักเรียนจำนวนมากมีทัศนคติในการเรียนประวัติศาสตร์ว่าเป็นเรื่องที่น่าเบื่อและเน้นท่องจำ ซึ่งมีส่วนทำให้มีความสนใจเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ลดลง อย่างไรก็ตามความรู้สึกของนักเรียนได้เปลี่ยนไปหลังจากได้เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการประวัติศาสตร์บูรณาการในมิติคณิตศาสตร์  อ่านต่อ

 

 

 

 

การ์ตูนประวัติศาสตร์ไทย  ในมิติคณิตศาสตร์สิ่งที่ท่านจะได้เรียนรู้จาก
หนังสือเล่มนี้

-ทำไมมนุษย์จึงต้องมีปฏิทิน

– ในปีจันทรคติไทย มีการนับวันอย่างไร เดือนหนึ่งมีกี่วัน มีข้างขึ้นกี่วัน มีข้างแรมกี่วัน

– เราจะคำนวณจำนวนวันในแต่ละปีในปีของปฏิทินจันทรคติไทยได้อย่างไร โดยไม่ต้องท่องจำ

– ทำไมในปฏิทินจันทรคติไทยถึงต้องมีการเติมเดือน 8 สองหน

– วันพระคือวันใด

– ปฏิทินล้านนา ต่างจากปฏิทินจันทรคติไทยอย่างไร

– ทำไมคนในภาคเหนือจึงไม่เรียกวันลอยกระทงว่า “วันเพ็ญเดือน 12” เหมือนในภาคกลาง แต่กลับเรียกว่า “วันยี่เป็ง” ซึ่งแปลตรงตัวว่า “วันเพ็ญเดือน 2”

– เราจะมีวิธีการเทียบศักราชที่ต่างกัน เช่น พุทธศักราช คริสต์ศักราช จุลศักราช มหาศักราช และรัตนโกสินทร์ศก อย่างไร

– ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เขานับอย่างไร และจะนำไปใช้อย่างไร

– ยิ่ม เยิ่ม กำ กอบ ในมาตราตวงของล้านนาเป็นอย่างไร

– มารู้จักกับการเทียบหน่วยมาตราวัดในล้านนา เช่น 8 เส้นผม เป็น 1 ไข่เหา  และ 8 ไข่เหา เป็น 1 ตัวเหา เป็นต้น ฯลฯ  อ่านต่อ

 

คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์กับการศึกษาทางโบราณคดี ณ วัดอุโมงค์

ในปัจจุบันนักเรียนจำนวนมากมีทัศนคติในการเรียนประวัติศาสตร์ว่าเป็นเรื่องที่น่าเบื่อและเน้นท่องจำ ซึ่งมีส่วนทำให้มีความสนใจเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ลดลง อย่างไรก็ตามความรู้สึกของนักเรียนได้เปลี่ยนไปหลังจากได้เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการประวัติศาสตร์บูรณาการในมิติคณิตศาสตร์  

 

 

 

 

2013Pagoda_UpSideDownS

โครงการบูรณาการคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ล้านนาIntegrated Mathematics and Science for Lanna Studies Project  

ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์และทีมงานวิจัย จากห้องปฏิบัติการวิจัยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดทำโครงการบูรณาการคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ล้านนา  อ่านต่อ

 

 

 

 

 

การอบรมครูและการบริการวิชาการอื่น

กี่ยวกับผู้จัดกิจกรรม: นอกเหนือจากประสบการณ์ในการจัดค่ายแก่นักเรียนนักศึกษาจำนวน 20 ปี อาจารย์อติชาต เกตตะพันธุ์ยังมีประสบการณ์ในการบริการวิชาการแก่ครู ผู้บริหารโรงเรียน และศึกษานิเทศก์ จำนวน 5 ปี  อ่านต่อ

 

 

 

 

การบริการจัดค่ายคณิตศาสตร์ และค่ายเยาวชนอื่น
ค่ายคณิตศาตร์และค่ายเยาวชนอื่นๆเกี่ยวกับผู้จัดกิจกรรมดร.อติชาต เกตตะพันธุ์ มีประสบการณ์ในการจัดค่ายรวม 20 ปี โดยเป็นผู้จัดค่ายสำหรับนักเรียนนักศึกษามามากกว่า 50 ค่าย สำหรับทีมงานจัดค่ายประกอบด้วยคณาจารย์และนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย จากหลากหลายสาขาวิชา ที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สูงในการจัดค่าย อ่านต่อ