งานวิจัยที่สนใจ:

        แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการแพร่ตัวของไฟป่า, แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของปัญหาหมอกควัน, แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ทางการแพทย์, ทฤษฎีจุดตรึง, คณิตศาสตร์ชาติพันธุ์, คณิตศาสตร์ศึกษา และ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี

 

ความสนใจพิเศษ:

        การปฏิรูปการศึกษา, การอบรมสัมมนา เรื่องการพัฒนาตนเอง และเรื่องการเรียนการสอน, การโค้ช, การจัดค่ายวิชาการ และค่ายพัฒนาตนเอง สำหรับนักเรียนนักศึกษา

 

รายงานการวิจัย:

 

อาจารย์ที่ปรึกษางานค้นคว้าอิสระ | อาจารย์ที่ปรึกษารายวิชาสัมมนา | อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาโครงการพิเศษ

อาจารย์ที่ปรึกษานักเรียนโครงการพิเศษ | อาจารย์ที่ปรึกษานักเรียนค่ายฝึกวิจัยภาคฤดูร้อน | ภาพกิจกรรม

 

สำหรับนักศึกษาที่สนใจทำงานทางวิชาการ:

 

ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์ ได้เน้นการสร้างผลงานทางวิชาการที่เน้นความร่วมมือกับบุคลที่เชี่ยวชาญในหลากหลายสาขา อาทิ นักคณิตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ นักดาราศาสตร์ วิศวกร นักเทคนิคการแพทย์ นักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี นักภาษาศาสตร์ นักโหราศาสตร์ นักการศึกษา ผู้เชียวชาญเรื่องการผลิตสื่อ และสื่อมวลชน ดังนั้นผลงานส่วนใหญ่จึงเน้นการวิจัยแบบบูรณาการ การนำเอางานวิจัยไปใช้ประโยชน์จริง และการเผยแพร่ผลงานวิจัยให้สาธารณชนได้รับทราบถึงประโยชน์ของงานวิจัยที่ได้จัดทำขึ้น ทั้งนี้ ดร.อติชาต ยินดีเปิดประเด็นใหม่ในงานวิจัยร่วมกับอาจารย์และนักวิจัยจากทุกที่เสมอ

 

สำหรับนักเรียนนักศึกษาที่สนใจทำการวิจัยร่วมกับ ดร.อติชาต ก็มีงานวิจัยที่เหมาะกับระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยมีทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ใหม่ในสาขาคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ การศึกษาตำราและบทความวิชาการ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปสู่การปฏิรูปการศึกษา รวมถึงการทำสื่อการเรียนการสอน หากนักเรียนนักศึกษาสนใจกรุณาติดต่อสอบถามข้อมูลจาก ดร.อติชาต ได้เสมอ

 

สำหรับงานวิจัยที่ ดร.อติชาต กำลังทำอยู่ หรือสนใจที่จะทำในอนาคต มีดังนี้

  1. แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการแพร่ตัวของไฟป่า (ม.ปลาย-ป.เอก)
  2. แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของปัญหาหมอกควันในภาคเหนือ (ม.ปลาย-ป.เอก)
  3. การออกแบบการทดลองทางการแพทย์ (ป.โท-ป.เอก)
  4. ทฤษฎีจุดตรึง (ป.ตรี-ป.เอก)
  5. คณิตศาสตร์ในระบบเลขยันต์ล้านนา (ม.ปลาย-ป.ตรี)
  6. คณิตศาสตร์ในโหราศาสตร์ (ม.ปลาย-ป.ตรี)
  7. คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี อาทิ งานวิจัยที่วัดอุโมงค์(เชิงดอยสุเทพ) จังหวัดเชียงใหม่ (ม.ปลาย-ป.ตรี)
  8. การสร้างสื่อการเรียนการสอน ทั้งวีดีทัศน์สารคดีเชิงวิชาการ, หนังสือการ์ตูนเชิงวิชาการ, สื่อการสอนผ่าน Sketchpad, สื่อการสอนเพื่อการนำเข้าสู่บทเรียนคณิตศาสตร์ ฯลฯ (ม.ปลาย-ป.โท / สำหรับ ป.เอก สามารถทำร่วมกับสาขาทางศึกษาศาสตร์)
  9. การสร้างกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์แบบบูรณาการที่ผู้เรียนมี่ส่วนร่วมในการเรียนรู้ ซึ่งบูรณาการได้หลายเรื่อง อาทิ ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การวางแผนทางการเงิน คุณธรรมจริยธรรมและหน้าที่พลเมือง และการป้องกันภัยพิบัติ (ป.ตรี-ป.โทร / สำหรับ ป.เอก สามารถทำร่วมกับสาขาทางศึกษาศาสตร์)

สำหรับนักเรียนนักศึกษาที่ ดร.อติชาต เคยเป็นที่ปรึกษา มีรายชื่อดังตารางด้านล่าง

 

การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาปริญญาตรี ในรายวิชางานค้นคว้าอิสระ (206499) ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่:

 

ภาพ ชื่อ/รหัสนักศึกษา หัวข้องานค้นคว้าอิสระ ปีการศึกษา
      2557
  นายอาทิตย์ วิริยพงศานนท์(แบงค์)530510642 (อยู่ระหว่างการทำวิจัย) 2556
  นางสาวสุภาลิน ศรัณย์วงศ์ (อุ้ย)4805544 การทำนายการลุกลามของไฟป่าโดยใช้เซลลูลาร์ออโตมาตา / Forest fire spread prediction using cellular automata (ที่ปรึกษาร่วมกับ อ.ดร.สมภพ มูลชัย) [บทคัดย่อ] 2551
  นายชาญ แซ่ม้า4705179 คาร์ทีเชียนเทนเซอร์ / Cartesian Tensors [บทคัดย่อ] 2550
  นางสาวปนิดา หอมนาน (เจี๊ยบ)4705571 คณิตศาสตร์กับการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ / Mathematics and Chiang Mai Wall Construction [บทคัดย่อ / ชมสารคดี / ดาวโหลดสารคดี 74 MB ] 2550
  นายฉันทวัฒน์ ฉันทะ (บอย)4705603 สื่อการเรียนการสอนเรื่องจลศาสตร์ของไหลเบื้องต้น / Study Aid for Elementary Fluid Dynamics [บทคัดย่อ / สื่อการสอน Sketchpad 41MB ] 2550

 

การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาปริญญาตรี ในรายวิชาสัมมนา (206399) ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่:

 

ภาพ ชื่อ/รหัสนักศึกษา หัวข้อการสัมมนา ปีการศึกษา
  นางสาวฮานี อัครพิศาล(ฮานี)550510554 An n-dimmentional pythagorean Theorem 2/2557
  นางสาวอโณทัย แก้วมูล(ฝน)550510544 On the diophantine equations of type a^x + b^y = c^z 2/2557
  นายอาทิตย์ วิริยพงศานนท์(แบงค์)530510642 Simulation of forest fire fronts using cellular automata 2/2555
  นางสาววรรณทะญา เนืองวงค์ (ใหม่)530510742 เศษส่วนย่อยในแคลคูลัสและทฤษฎีจำนวน / Partial Fractions in Calculus and Number Theory 2/2555
  นางสาวแสงสุรีย์ เสมอใจ (แอปเปิ้ล)530510772 สมการเพลล์และลำดับคล้ายฟิโบนัชชี / Pell’s type equation and Fibonacci like sequences 2/2555
  นางสาวรุ่งกัลยา บุญมา (เดียว)530510735 วิธีการหารากที่สองของจ านวนเชิงซ้อน / How to Find the Square Root of a Complex Number 2/2555
  นางสาวภัทราลาดา ศรีสด(ผักบุ้ง)530510724 จำนวนสามเหลี่ยม จำนวนเชิงซ้อน และ เคนเคน / Traingular Numbers , Gaussian Integers , and KenKen 1/2555
  นางสาวอภิสรา แฮดพนัส(มิ้ว)530510783 การแก้ปัญหาพหุนามกำลังสามและพหุนามกำลังสี่ / Solving Cubic and Quartic Polynomials 1/2555
  นางสาวสุภาลิน ศรัณย์วงศ์ (อุ้ย)4805544 วงกลมในวงกลม การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับคลื่นบนผิวน้ำ /Circles in Circles : Creating a Mathematical Model of Surface Water Waves 2/2550
  นางสาวสุธินี เขียวแท้ (เจ้ย)4805543 วงกลมในวงกลม การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับคลื่นบนผิวน้ำ /Circles in Circles : Creating a Mathematical Model of Surface Water Waves 2/2550

 

การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาในโครงการพิเศษ:

 

ภาพ ชื่อ หัวข้อวิจัย/โครงการที่นักศึกษาสังกัด ปีการศึกษา
       
       
  นายจักรกฤษณ์ แดงแสน (บิ๊ก)นักศึกษาปีที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Fixed Point Theory and Equilibrium Problemsการฝึกวิจัยภาคฤดูร้อน โครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) 3/2555
  นายสุพัฒพงศ์ พรหมสวรรค์ (บาส)นักศึกษาปีที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Fixed Point Theory and Metric Spaceการฝึกวิจัยภาคฤดูร้อน โครงการเพชรทองกวาว คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3/2555
  นางสาววรรณิษา อภัยรัตน์ (โบว์)นักศึกษาปีที่ 3 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัตุรัสกลกับยันต์ล้านนาการฝึกวิจัยภาคฤดูร้อน โครงการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์  กระทรวงวิทยาศาสตร์ 3/2555
  นายณัฐพงศ์ แก้วสาย(มิ๊กซ์)นักศึกษาปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Study of some properties of normed space and banach spaceการฝึกวิจัยภาคฤดูร้อน โครงการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์  กระทรวงวิทยาศาสตร์ 3/2555
  นายอาทิตย์ วิริยพงศานนท์(แบงค์)นักศึกษาปีที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การลุกลามของไฟป่าสำหรับพื้นที่แบบเอกพันธ์ (ที่ปรึกษาร่วมกับ อ.ดร.สมภพ มูลชัย)การฝึกวิจัยภาคฤดูร้อน โครงการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์  กระทรวงวิทยาศาสตร์ 3/2554

 

การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษานักเรียนในโครงการพิเศษ:

 

ภาพ ชื่อ หัวข้อวิจัย/โครงการที่นักศึกษาสังกัด ปีการศึกษา
  นายปณิธาน ศรีทา (เต้)ม.6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย (อยู่ระหว่างการทำวิจัย) 

การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.)

2556
  นายปณิธาน ศรีทา (เต้)ม.5 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย The Relation between Earthquakes and Planet’s Positions in Zodiac Constellationsการฝึกวิจัยของนักศึกษาโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) 2555
  นางสาวทิพย์ศิริ พึ่งศรีศัย (มิ้น)ม.5 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย Lanna Magic Squareการฝึกวิจัยของนักศึกษาโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) 2555
  นางสาวนิโลบล สบบง    (หมิว)ม.5 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย การพัฒนาแบบจำลองไฟป่า โดยใช้เซลลูลาร์ออโตมาตาในสองมิติ / AnImproved the Cellular Automaton Model for Predicting Forest Fire Spreads (ที่ปรึกษาร่วมกับ อ.ดร.สมภพ มูลชัย)การฝึกวิจัยของนักศึกษาโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ (JSTP) ของ สวทช. และโครงการ พสวท. 2552

 

การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษานักเรียน ในค่ายฝึกวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ภาคฤดูร้อน สำหรับเยาวชนภาคเหนือ ครั้งที่ 31 ในสาขาคณิตศาสตร์ (14-21 มีนาคม 2555):

 

ภาพ ชื่อ โรงเรียน ระดับชั้น ปีการศึกษา
  นางสาวมนัสชนก เรือนแก้ว (เอ๋) โรงเรียนดาราวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ ม.4 3/2554
  นางสาววิลาวัลย์ คำอ่อง (อาเหมย) โรงเรียนห้องสอนศึกษา จ.แม่ฮ่องสอน ม.4 3/2554
  นางสาวนันทนา ขันไข (หนูนา) โรงเรียนเวียงมอก จ.ลำปาง ม.5 3/2554
  นางสาวอุทัยวรรณ บุญจันทร์ (กานต์) โรงเรียนบ้านด่านลานหอยวิทยา จ.สุโขทัย ม.5 3/2554
  นางสาวสุธีมนต์ จุ้ยโต (จุ้ย) โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จ.ลำปาง ม.5 3/2554
  นางสาวธัญญารัตน์ สิงห์เส (ขิม) โรงเรียนเมืองกลางวิทยา จ.เพชรบูรณ์ ม.5 3/2554
  นางสาวสิทธิณี (น้ำฝน) โรงเรียนเมืองกลางวิทยา จ.เพชรบูรณ์ ม.5 3/2554

 

 

ตัวอย่างภาพกิจกรรม

 

 
  • การฝึกทักษะกระบวนการวิจัยคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนในโครงการค่ายฝึกวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ภาคฤดูร้อน สำหรับเยาวชนภาคเหนือ ครั้งที่ 31 จัดโดย ชมรมวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 14-21 มีนาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่