image3ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์ (Atichart Kettapun, Ph.D.)

วันเกิด: 3 กันยายน พ.ศ. 2517

อาชีพปัจจุบัน:

อาจารย์ประจำสาขาวิชาคณิตศาสตร์
ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์


สถานที่ทำงาน:
ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัย เชียงใหม่


งานวิจัย
ที่เชี่ยวชาญ: การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์, ทฤษฎีจุดตรึงและการประยุกต์, คณิตศาสตร์ชาติพันธุ์ และคณิตศาสตร์ศึกษา

 

การศึกษา:

 

การศึกษาและการทำวิจัยระยะสั้น:

  • พ.ศ. 2548 และ 2549:   University of British Columbia (UBC) ประเทศแคนาดา
  • พ.ศ. 2546-2547:         Massachusetts Institute of Technology (MIT) ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • พ.ศ. 2543-2544:         Warwick University ประเทศอังกฤษ
  • พ.ศ. 2541:                     จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พ.ศ. 2540-2541:         มหาวิทยาลัยมหิดล

ประสบการณ์ทางด้านการศึกษา:

  • พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน: อาจารย์ประจำภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2553: คณะกรรมการตัดสินการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์สาขากายภาพ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในงานสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย วันที่ 10-18 สิงหาคม 2553 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • พ.ศ. 2550: คณะทำงานจัดการแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ระหว่างประเทศ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2550 ฝ่ายวิชาการ ณ จังหวัดเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2548: ผู้ช่วยวิจัย ณ ภาควิชาคณิตศาสตร์ University of ฺBritish Columbia ประเทศแคนาดา
  • พ.ศ. 2547: ผู้ช่วยสอน ณ University of California at Santa Cruz
  • พ.ศ. 2543-2544: ติวเตอร์ (Tutor) และผู้ช่วยสอนที่ Warwick Mathematical Institution ณ Warwick University ประเทศอังกฤษ
  • พ.ศ. 2542-2543: ผู้ช่วยสอน ณ University of California at Santa Cruz
  • พ.ศ. 2540-2541: ผู้ช่วยวิจัย ณ ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • พ.ศ. 2537-2538: ติวเตอร์อาสาสมัคร ของภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการสอนพื้นฐานแคลคูลัสแก่นักศึกษาที่สนใจ
  • พ.ศ. 2536: ตัวแทนนักเรียนไทยในการแข่งขัน International Asian Pacific Mathematics Olympiad (APMO)
  • พ.ศ. 2535-2536: นักเรียนค่ายโอลิมปิกวิชาการระดับประเทศ สาขาคณิตศาสตร์ ในรอบ 10 คนสุดท้าย

 

ทุนการศึกษาที่ได้รับ:

  • พ.ศ. 2551-2554: ทุนโครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการผลิตและพัฒนาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา โดย สำนักงานคณะกรรรมการการอุดมศึกษา
  • พ.ศ. 2548: ทุนผู้ช่วยวิจัย ณ ภาควิชาคณิตศาสตร์ University of ฺBritish Columbia ประเทศแคนาดา
  • พ.ศ. 2547: ทุนผู้ช่วยสอน ณ University of California at Santa Cruz
  • พ.ศ. 2533-2547: ทุนโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษทางวิยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.)
  • พ.ศ. 2543-2544: ทุนติวเตอร์ (Tutor) และทุนผู้ช่วยสอนที่ Warwick Mathematical Institution ณ Warwick University ประเทศอังกฤษ
  • พ.ศ. 2542-2543: ทุนผู้ช่วยสอน ณ University of California at Santa Cruz

 

ประสบการณ์ด้านการบริหารและงานอาสาสมัคร:

  • พ.ศ. 2557-ปัจจุบัน: คณะทำงานฟื้นฟูวัดร้างบริเวณภายในสวนพุทธธรรม (วัดอุโมงค์)
  • พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน: ประธานคณะกรรมการเครือข่ายเขตช้างเผือก ของคณะกรรมการชมรมผู้ปกครองและครูโรงเรียนนันทชาติ เกรด สคูล และนันทชาติ พรีสคูล จังหวัดเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2550-ปัจจุบัน: หัวหน้า ห้องปฏิบัติการวิจัยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2547-2552: ผู้ประสานงานกลาง เครือข่ายสยามเสวนา (เครือข่ายของคนไทยระดับนานาชาติที่สนใจเรื่องการเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดและประสบการณ์)
  • พ.ศ. 2550-2551:  ประธานคณะกรรมการคณะกรรมการออกข้อสอบปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2550: ประธานคณะกรรมการผู้เข้าร่วมอบรมอาจารย์ใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2550 (รุ่นราชพฤกษ์)
  • พ.ศ. 2549-2550: ประธานคณะกรรมการปรับพื้นฐานความรู้สำหรับวิชาแคลคูลัส ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2543, 2545-2546: President of the Buddhist Society ณ University at California at Santa Cruz ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • พ.ศ. 2543-2544: President of the Thai Society, Warwick University, ประเทศอังกฤษ (รายงานผลการทำงาน ผ่านไฟล์ PDF หรือ Word Document)
  • พ.ศ. 2535-2539: ประธานชมรมเยาวชนอาสาสมัครอนุรักษ์มรดกไทย (ยอมท.) ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และเชียงราย
  • พ.ศ. 2535-2538: ผู้จัดค่ายมากกว่า 30 ค่าย อาทิ ค่ายคณิตศาสตร์ ค่ายวิทยาศาสตร์ ค่ายดาราศาสตร์ ค่ายอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ค่ายประชาธิปไตย และค่ายผู้นำ
  • พ.ศ. 2536-2537: สโมสรนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ ในฐานะผู้แทนนักศึกษาชั้นปีที่ 1 (ประธานชั้นปี) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2536
  • พ.ศ. 2535-2536: ประธานคณะกรรมการนักเรียน และประธานรุ่นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2535

 

รางวัลที่ได้รับ:

  • รางวัลถ้วยไม้สักทอง สำหรับการพูดแบบเตรียมตัวดีเด่น ในการฝึกพูดครั้งที่ 2044 ปีที่ 40 ของสโมสรฝึกพูดแห่งล้านนา วันที่ 5 เมษายน 2558 ณ โรงแรมเชียงใหม่ ออคิด จังหวัดเชียงใหม่
  • รางวัล การสอนยอดเยี่ยม พ.ศ. 2557 ของภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มอบไว้ ณ วันที่ 14 มกราคม 2558
  • รางวัล การสอนดีเยี่ยม ภาคเรียนที่ 2/2556 อันดับที่ 1 ของภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มอบไว้ ณ วันที่ 8 มกราคม 2557
  • รางวัล งานบริการวิชาการดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2555 โดย ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มอบไว้ ณ วันที่ 4 มกราคม 2556

 

การเป็นวิทยากร:

วิทยากรจัดค่ายวิชาการทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิชาการสาขาอื่นๆ สำหรับนักเรียนนักศึกษา ให้กับโรงเรียนในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และกรุงเทพมหานคร และยังจัดค่ายวิชาการให้กับหน่วยงานทางการศึกษาระดับประเทศ และบริษัทเอกชน อาทิ  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, มหาวิทยาลัยแม่โจ้, สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.), ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) และการบินไทย เป็นต้น

วิทยากรอบรมทางการศึกษา สำหรับครู อาจารย์มหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารโรงเรียน นักเรียน และนักศึกษา ให้กับโรงเรียน มหาวิทยาลัย และหน่วยงานทางการศึกษาระดับประเทศ อาทิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในหลายจังหวัด, งานมหกรรมทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู EDUCA, เมืองพัทยา, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, มหาวิทยาลัยแม่โจ้, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย, โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง เป็นต้น

 

งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ:

  • U. Seanpromy, A. Kaewkhaoy;z, N. Tongsiriy, A. Kettapun, A Group Action on Pandiagonal Lanna Magic Squares, Thai J. Math. 16(2) (2018) 443-453.
  • L. Bussaban, A. Kettapun, Common Fixed Points of an Iterative Method for Berinde Nonexpansive Mappings, Thai J. Math. 16(1) (2018) 49-60.
  • A. Kettapun, A. Kananthai, S. Suantai 2011, Convergence Theorems of Hybrid Methods for Generalized Mixed Equilibrium Problems and Fixed Point Problems of an infinite family of Lipschitzian Quasi-nonexpansive mappings in Hilbert Spaces, J. Nonlinear Anal. and Optim. 2(2), 373-387.
  • A. Kettapun, A. Kananthai, S. Suantai 2010, A new approximation method for common fixed points of a finite family of asymptotically quasi-nonexpansive mappings in Banach spaces, Comput. Math. Appl. 60(5), 1430-1439.
  • N. J. Balmforth, S. A. Ghadge, A. Kettapun, S. D. Mandre 2006, Upper Bounds on double diffusive convection, J. Fluid Mech. 569, 29-50.
  • N. J. Balmforth, T. M. Janaki and A. Kettapun 2005, On the bifurcation to moving fronts in discrete systems, Nonlinearity 18, 2145-2170.

 

หนังสือและตำราเรียน:

  • อติชาต เกตตะพันธุ์, คู่มือครู กิจกรรมบูรณาการคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ล้านนา, เผยแพร่ครั้งแรกผ่านเว็บไซต์ www.atichart.com เดือนมิถุนายน 2556.
  • อติชาต เกตตะพันธุ์ และคุณะ, การ์ตูนประวัติศาสตร์ไทยในมิติคณิตศาสตร์, เชียงใหม่ : โครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายในพื้นที่เพื่อหนุนเสริมการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สถานศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่, 2554.
  • อติชาต เกตตะพันธุ์, คู่มือครูการบูรณาการประวัติศาสตร์กับคณิตศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : ลานนา มีเดีย แอนด์ โปรดักชั่น, 2554.
  • อติชาต เกตตะพันธุ์, แคลคูลัสขั้นสูง (Advanced Calculus), พิมพ์ครั้งที่ 2, ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2554. (พิมพ์ครั้งที่ 1 ปี พ.ศ. 2552)

 

ผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่:

อติชาต เกตตะพันธุ์, ผลสรุปการดำเนินงานโครงการประวัติศาสตร์ในมิติคณิตศาสตร์, โครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายในพื้นที่เพื่อหนุนเสริมการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สถานศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2554

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย กรมศิลปากร, การวิเคราะห์ลวดลายปูนปั้น วัดเกาะกลาง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย กรมศิลปากร พ.ศ. 2552

สุรชัย จงจิตงาม, ศิริวรรณ เกตตะพันธุ์ และ อติชาต เกตตะพันธุ์, โครงการวิจัยจิตรกรรมฝาผนังและโครงสร้างเจดีย์ วัดอุโมงค์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยวิธีการทางเคมีและคณิตศาสตร์เบื้องต้น, รายงานผลการวิจัย,คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2550-2551

สุรชัย จงจิตงาม, อติชาต เกตตะพันธุ์ และ ศิริวรรณ เกตตะพันธุ์, โครงการแผ่นพับและมัลติมีเดียเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กรณีจิตรกรรมฝาผนังวัดอุโมงค์ เชิงดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่,  รายงานผลงานวิจัย, สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2551

ปฤษณา กลับอุดม และคณะ, พื้นฐานความรู้คณิตศาสตร์ที่มีผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์การเรียนการสอนวิชาแคลคูลัส 206111,รายงานผลการวิจัย, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2549-2550

อติชาต เกตตะพันธุ์, ความสัมพันธ์ของการเกิดสุริยุปราคาและศาสนสถานในยุคปฏิวัติเกษตรกรรม, งานค้นคว้าอิสระระดับปริญญาตรี, ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2540

 

การนำเสนอผลงานทางวิชาการ:

  • “Integrated Learning Activities among Science, Mathematics, Art and History for Primary School Students in Chiang Mai” at Science Education Symposium (SES) 2011, June 12-13, 2011, Faculty of Education, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand. (Presented as an invited speaker.)
  • “Approximating common fixed points of a finite family of Asymptotically quasi-nonexpansive mappings in Banach spaces” at the 2nd Asian Conference on Nonlinear Analysis and Optimization (NAO-Asia 2010), Sep 9-12, 2010, Royal Paradise Hotel & Spa, Patong beach, Phuket, Thailand.
  • “จิตรกรรมฝาผนังและโครงสร้างเจดีย์ วัดอุโมงค์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยวิธีการทางเคมีและคณิตศาสตร์เบื้องต้น” ในการสัมมนาวิทยาศาสตร์ศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 3 เรื่อง การพัฒนากระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สู่นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น, 21-22 พ.ย. 2551, โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว, เชียงใหม่
  • “Fundamental background required for studying Calculus more successfully and effectively” ในการประชุมวิชาการทางคณิตศาสตร์ ประจำปี 2551 (ครั้งที่ 13) ร่วมกับ 2nd International Conference on 21st Century Information, 6-7 พ.ค. 2551, ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพมหานคร
  • “Upper bound calculations on Thermohaline problem” at the 8th International Conference on Fixed Point Theory and Its Applications 2007, July 16, 2007, Chiang Mai University, Thailand.
  • “Bounds on double diffusive convection” at the 58th Annual APS Meeting of the Division of Fluid Dynamics, November 22, 2005, Chicago, USA.
  • “On the bifurcation to moving fronts in discrete systems”, November 3, 2005, Graduate Colloquium at the Department of Mathematics, University of California at Santa Cruz, USA.
  • “2D fluid flow in pure electron plasmas”, June 5, 2003, Graduate Colloquium at the Department of Mathematics, University of California at Santa Cruz, USA.
  • “ความสัมพันธ์ของสุริยุปราคาและศาสนสถานในยุคปฏิวัติเกษตรกรรม” ในการประชุมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วทท.) ครั้งที่ 23, 20-22 ต.ค. 40, โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว, เชียงใหม่

 

การประชุมทางวิชาการ:

  • The 5th Annual Conference on Fixed Point Theory and Applications, July 8, 2011, Lampang Rajabhat University, Lampang, Thailand.
  • Science Education Symposium (SES) 2011, June 12-13, 2011, Faculty of Education, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand. (Presented as an invited speaker.)
  • The 2nd Asian Conference on Nonlinear Analysis and Optimization (NAO-Asia 2010), Sep 9-12, 2010, Royal Paradise Hotel & Spa, Patong beach, Phuket, Thailand.
  • การสัมมนาวิทยาศาสตร์ศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 3 เรื่อง การพัฒนากระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สู่นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น, 21-22 พ.ย. 2551, โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว, เชียงใหม่
  • การประชุมวิชาการทางคณิตศาสตร์ ประจำปี 2551 (ครั้งที่ 13) ร่วมกับ 2nd International Conference on 21st Century Information, 6-7 พ.ค. 2551, ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพมหานคร
  • 1st International Conference on Science Education in the Asia Pacific (SciEd Asia-Pacific), November 28-29, 2007, Sofitel Centara Grand Bangkok Hotel, Bangkok, Thailand.
  • 8th International Conference on Fixed Point Theory and Its Applications 2007, July 16-22, 2007, Chiang Mai University, Thailand.
  • 58th Annual Meeting of the Division of Fluid Dynamics, American Physical Society (APS), November 20 – 22, 2005, Chicago Hilton Hotel, IL, USA.
  • International Conference on Computational Mathematics, December 8-10, 1997, Tawana Ramada Hotel, Bangkok, Thailand.
  • การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23, 20-22 ต.ค. 2540, โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว, เชียงใหม่
  • การประชุมเชิงปฏิบัติการ การวิจัยทางคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 1, 13-16 ต.ค. พ.ศ. 2540, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร
  • การประชุมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วทท.) ครั้งที่ 23, 20-22 ต.ค. 40, โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว, เชียงใหม่

 

การอบรมทางวิชาการระยะยาว:

  • การอบรมในโครงการสายสายใยสู่ลูกรัก รุ่นที่ 37 โดย สถานบริการสุขภาพพิเศษ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 12-26 ก.ค. 2551(เฉพาะวันเสาร์อาทิตย์)
  • การฝึกอบรม “การท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม” โดย สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 8-30 มี.ค. 2551 (เฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์) ณ สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และวัด 6 แห่งในจังหวัดเชียงใหม่
  • Summer Graduate Program in Mathematical Graphics at Reed College, Portland, Oregon, USA, July 14, 2003 – July 25, 2003.
  • Geophysical Fluid Dynamics Program (GFD) at the Woods Hole Oceanographic Institution (WHOI) in Woods Hole, Massachusetts, USA, June 16  – August 22, 2003.
  • Summer Graduate Program in International School on Biomathematics, Bioengineering and Clinical Aspects of Blood Flow at the Mathematical Sciences Research Institute (MSRI), Berkeley, California, July 23 – August 9, 2002.

 

การอบรมและประชุมเชิงปฏิบัติการ:

  • โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง ทางด่วนงานวิจัยสู่สิทธิบัตร โดยศูนย์วิจัยพหุวิทยาการ คณะวิทยาศาสตร์ และหน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 26 สิงหาคม2553 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • กิจกรรมการเปิดชั้นเรียน (Open Class) ครั้งที่ 1 ในโครงการพัฒนาวิชาชีพครูคณิตศาสตร์ด้วยนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) ในเขตพื้นที่การศึกษาภาคเหนือ โรงเรียนบ้านน้ำแพร่ สพท. เชียงใหม่ เขต 4 ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 วันที่ 28 กันยายน 2552
  • โครงการสัมมนาการมีส่วนร่วมของประชาชน เรื่อง “การบังคับใช้กฏหมายกับการจัดการสิ่งแวดล้อม” โดย คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสภาทนายความ ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จ.เชียงใหม่
  • โครงการประชุมสัมมนา เรื่อง “การพัฒนาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางคณิตศาสตร์ประยุกต์” โดย ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดบรรยายในหัวข้อ Numerical Optimization : Methods and Applications” โดย รศ.ดร.วีระ จันทร์คง จาก Case Western Reserve University ประเทศสหรัฐอเมริกา  ในวันที่ 4, 7, 11 และ 14 สิงหาคม 2552
  • โครงการอบรมพื้นฐานเกี่ยวกับฮาร์ดดิสก์ การผลิตและการประกอบชิ้นส่วนฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ โดย หน่วยวิจัยร่วมเฉพาะทางด้านส่วนประกอบฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ ร่วมกับ งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 25-26 พ.ค. 2552
  • โครงการพัฒนาศักยภาพครู ผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน เรื่อง “สร้างเว็บสวยด้วย Dream weaver” โดย สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 2 ก.ย. 2551
  • โครงการพัฒนาศักยภาพครู ผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน เรื่อง “เทคนิคการสร้างสื่อนำเสนอเบื้องต้น (Microsoft PowerPoint)” โดย สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 29 ส.ค. 2551
  • โครงการพัฒนาศักยภาพครู ผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน เรื่อง การออกแบบและสร้าง e-Book ด้วยโปรแกรม eXeโดยสถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 28 ส.ค. 2551
  • กิจกรรมการเรียนรู้การใช้สารสนเทศเรื่อง “EndNote X1” โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 20 ส.ค. 2551
  • โครงการประชุมสัมมนา เรื่อง การประเมินตามสภาพจริง โดย สำนักพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 15 ส.ค. 2551  ณ Chiang Mai Grandview จ.เชียงใหม่
  • กิจกรรมการเรียนรู้การใช้สารสนเทศเรื่อง “เรียนรู้ Feed Reader : โปรแกรมการติดตามข้อมูล” โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 23 ก.ค. 2551
  • โครงการประชุมสัมมนา เรื่อง เทคนิคและแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยสำนักพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 9 ก.ค. 2550  ณ Green Lake Resort จ.เชียงใหม่
  • สัมมนาเชิงปฏิบัติการ : ภาวะโลกร้อน…ภาวะร่วม…ต้องเรียนรู้แก้ไข:ยุทธศาสตร์ต้านวิกฤตโลกร้อน โดย เครือข่ายต้านโลกร้อน วันที่ 4 มิ.ย. 2551 ณ YMCA เชียงใหม่ (สันติธรรม)
  • การอบรมการสร้างเอกสารทางวิชาการด้วยโปรแกรมภาษา LaTex โดย ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 15-17 พ.ค. 2551
  • การอบรมพัฒนาอาจารย์เกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอน โดย สำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 24-25 มี.ค. 2551 ณ สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสร้าง e-Book” โดย สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 5 มี.ค. 2551
  • การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ครั้งที่ 2 : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ” โดย สำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 30 ม.ค. 2551
  • กิจกรรมการเรียนรู้การใช้สารสนเทศเรื่อง “เรียนรู้การตรวจสอบผลงานการอ้างอิงทางวิชาการ” โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 12 ธ.ค. 2550
  • Workshop on Fixed Point Theory and Applications I, October 8-10, 2007, Chiang Mai University, Thailand.
  • โครงการประชุมสัมมนา เรื่อง การปฏิรูปการเรียนการสอน : การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน โดยสำนักพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 20 ส.ค. 2550  ณ โรงแรมโนโวเทล จ.เชียงใหม่
  • โครงการปฏิรูปการเรียนการสอนเพื่อสร้างสังคมอุดมปัญญา เรื่อง การเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพทางสมอง (Brain Based Learning) โดยสำนักพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 17 ส.ค. 2550  ณโรงแรมโนโวเทล จ.เชียงใหม่
  • โครงการประชุมสัมมนา เรื่อง การเขียนตำราทางวิชาการ โดยสำนักพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 15 ส.ค. 2550  ณ โรงแรมโนโวเทล จ.เชียงใหม่
  • การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้ KC-Moodle วันที่ 30 พ.ค. 2550 ณ สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • การสัมมนาเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2550 เรื่อง “TQA กับการพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ” วันที่ 12 ก.พ. 2550 ณ กรีนเลครีสอร์ท จ.เชียงใหม่
  • โครงการพัฒนาการเรียนการสอน เรื่องการใช้โปรแกรมตัดเกรด  วันที่ 27 ก.ย. 2549  ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • สัมมนาโครงการพัฒนาการเรียนการสอน เรื่องการวิเคราะห์ข้อสอบเพื่อพัฒนาการวัดและประเมินผล วันที่ 15 พ.ย. 2549  ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

ตัวอย่างผลงานที่เผยแพร่ผ่านสื่อมวลชน:

  • สารคดีโทรทัศน์ ชุดรายการห้องเรียนที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตอน “อินโดนีเซีย : ก่อนจะเป็นจาการ์ตา” และ “อินโดนีเซีย : จาการ์ตา มหานครแห่งความหลากหลาย” ออกอากาศผ่านสถานีโทรทัศน์ Thai PBS วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2555 และ 1 ก.ย. 2555 ตามลำดับ จัดทำโดยทีมงานโทรทัศน์ครู
  • สารคดีโทรทัศน์ชุด “ประวัติศาสตร์มีชีวิตด้วยคณิตศาสตร์” จำนวน 3 ตอน ในรายการ”ครูมืออาชีพ” ของโทรทัศน์ครู เริ่มเผยแพร่ทางเว็บไซและทางโทรทัศน์วันที่ 3 กรกฎาคม 2554
  • สัมภาษณ์เรื่อง วัยซนเรียนรู้โบราณสถานผ่านมุม “มองคณิตศาสตร์” ในหนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 25 เม.ย. 2554
  • สัมภาษณ์เรื่อง มช.บูรณาการ ‘คณิต’ ใช้สอน ‘ประวัติศาสตร์’ เด็กประถม ในหนังสือพิมพ์มติชน ฉบับวันที่ 23 เม.ย. 2554 และในเว็บไซต์หนังสือพิมพ์มติชนรายวันวันที่ 23 เมษายน 2554
  • สัมภาษณ์เรื่อง เลขฟิโบนักชี : ความมหัศจรรย์ของคณิตศาสตร์ในผัก ผลไม้ และดอกไม้เลขฟิโบนักชี : ความมหัศจรรย์ของคณิตศาสตร์ในผัก ผลไม้ และดอกไม้ ในรายการ “เรื่องน่ารู้จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่” สถานีวิทยุเสียงสื่อสารมวลชน FM.100 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 22 เม.ย. 2554
  • สารคดีโทรทัศน์เรื่อง “วิทยาศาสตร์กับการอนุรักษ์จิตรกรรมวัดอุโมงค์” ในรายการจดหมายเหตุกรุงศรี สถานีวิทยุโทรทัศน์ ช่อง 7 ออกอากาศช่วงข่าวภาคค่ำหลังข่าวพระราชสำนัก 13-15 มิถุนายน 2552 ตอนย้อนรอยจิตรกรรมวัดอุโมงค์ ตอนวิทยาศาสตร์กับการอนุรักษ์จิตรกรรมวัดอุโมงค์ และตอนคืนชีวิตให้ภาพเก่าที่วัดอุโมงค์ ตามลำดับ
  • สัมภาษณ์เรื่อง “เปิดใจ อติชาต เกตตะพันธุ์ นักคณิตศาสตร์กับผลงานวิทยาศาสตร์กับโบราณคดีที่วัดอุโมงค์ ในนิตยสารอัพเดท ปีที่ 24 ฉบับที่ 260 พฤษภาคม 2552
  • สัมภาษณ์เรื่อง “ใช้คณิตศาสตร์ ศึกษาภาพฝาผนัง” ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ข่าวสด และในเว็บไซต์หนังสือพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม 2552
  • สัมภาษณ์เรื่อง “เปิดใจรักคณิตศาสตร์กับผลงานวิจัย วิทยาศาสตร์กับโบราณคดีที่วัดอุโมงค์” ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์บ้านเมือง และในเว็บไซต์หนังสือพิมพ์บ้านเมือง ฉบับวันอังคารที่ 28 เมษายน 2552
  • สัมภาษณ์เรื่อง “วิทยาศาสตร์กับโบราณคดีที่วัดอุโมงค์” เริ่มเผยแพร่ในเว็บไซต์หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 24 เมษายน 2552
  • สัมภาษณ์เรื่อง “เปิดใจนักคณิตศาสตร์กับผลงานวิจัยชิ้นเอก วิทยาศาสตร์กับโบราณคดีที่วัดอุโมงค์” เริ่มเผยแพร่วันที่ 21 เมษายน 2552 ในเว็บไซต์วิชาการ.คอม, เว็บไซต์ ThaiPR.net, และเว็บไซต์www.newswit.com
  • สัมภาษณ์สดทางโทรศัพท์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์กับการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ ผ่าน “รายการเครือข่ายสายตรงวิทยุสถาบัน” ของสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 18 มี.ค. 2552
  • สัมภาษณ์เกี่ยวกับการฟื้นภาพวาดวัดอุโมงค์ ในหัวข้อ “มช.เจ๋งใช้วิทยาศาสตร์คืนภาพวาดเก่า” ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันอังคารที่ 17 กุมภาพันธ์ 2552 หน้า 1 และ 18 และเว็บไซต์หนังสือพิมพ์เดลินิวส์์ วันจันทร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ 2552

 

การรับเป็นที่ปรึกษา:

  • ที่ปรึกษาด้านวิชาการ โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่ (มีนาคม 2557-ปัจจุบัน)
  • ที่ปรึกษาโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ภูมิภาค ณ จังหวัดเชียงใหม่ ขององค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (กุมภาพันธ์ 2557-ปัจจุบัน)
  • ที่ปรึกษาทางวิชาการ โรงเรียนวิชัยวิทยา จังหวัดเชียงใหม่ (ปีการศึกษา 2556)
  • ที่ปรึกษาโครงการศึกษาประวัติศาสตร์ ศิลปกรรมเพื่อการจัดทำผังแม่บทของวัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) (พ.ศ. 2554)
  • ที่ปรึกษากิจกรรมอนุรักษ์ปูนปั้นโบราณสถานวัดเกาะกลาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน ของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย (พ.ศ. 2552)

 

การเป็นสมาชิก:

  • สมาชิกสโมสรฝึกพูดแห่งล้านนา (พ.ศ.2558-ปัจจุบัน)

 

โครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุน:

 

ประสบการณ์อื่น: