กระบวนวิชา 201117
Mathematics and Science in Civilization (คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์กับอารยธรรม)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
- ขอให้นักศึกษาไปทำการประเมินการสอนของมหาวิทยาลัยที่ sis.cmu.ac.th
- ดูคะแนนเก็บ 65% ได้จากด้านล่าง (หากพบข้อสงสัย ขอให้แจ้งให้ทราบให้เร็วที่สุด แต่ไม่เกินวันสอบปลายภาค)
ลำดับที่นักศึกษาจากเว็บไซต์สำนักทะเบียน :
- ดูลำดับที่ของนักศึกษาจากเว็บไซต์สำนักทะเบียน (นักศึกษาต้องใส่ลำดับที่ในการทำ Quiz ของตนเองให้ถูกต้อง)
ผู้สอน : อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์
ห้องพัก: MB 2304 (ตึกคณิตศาสตร์ ชั้น 3)
โทรศัพท์: (053) 94-332ุ6 ต่อ 108
อีเมล์: kettapun[at]gmail.com
Facebook: Atichart Kettapun
เว็บไซต์: www.atichart.com
อาจารย์ ดร.คมสันติ โชคถวาย
ห้องพัก: PB1-338 (ตึกฟิสิกส์1 ชัน 3)
โทรศัพท์: (053) 94-3367
อีเมล์: komsanti.chokethawai[at]cmu.ac.th
Facebook: Aj Kom
Facebook Group ของรายวิชา : 201117 2/2560
วันเวลาและสถานที่สอน : อังคารและศุกร์ เวลา 11.00-12.30 น. ณ RB5201
Office Hours : นักศึกษาสามารถนัดพบผู้สอนได้โดยตรง
สัดส่วนการให้คะแนน:
- คะแนนกิจกรรมในห้องเรียน (Class Activities) 15 %
- คะแนนสอบกลางภาค (Midterm Exam) 20 %
- คะแนนสอบย่อย (Quiz) 5 %
- คะแนนสอบปลายภาค (Final Exam) 30 %
- รายงาน/ผลงาน (Project) 30 %
ประกาศคะแนนเก็บและคะแนนสอบ : ดูคะแนนเก็บ 65% / ดูคะแนนกิจกรรมในห้องเรียนแบบละเอียด / ดูภาพรวมคะแนนของทุกคน – หากมีข้อสงสัย กรุณาแจ้งให้อาจารย์ให้เร็วที่สุด โดยวันสุดท้ายที่แจ้งได้คือวันสอบปลายภาค มิเช่นนั้นจะถือว่ายอมรับในคะแนนที่ประกาศครับ
สอบกลางภาค : วันพุธที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 15.30-18.30 น. ณ RB5405 / หากนักศึกษาไม่ใส่ชุดนักศึกษาตามระเบียบ มช. กรรมการคุมสอบมีสิทธิ์ที่ไม่ให้นักศึกษาเข้าสอบ ในกรณีที่อนุญาตให้เข้าสอบได้จะมีการหักคะแนนสอบ / ให้ นศ. เตรียมดินสอ 2B และยางลบ สำหรับการสอบด้วย อนุญาตให้เอาเฉพาะเครื่องคิดเลขธรรมดาเข้าห้องสอบ (ห้ามนำเครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์เข้าห้องสอบ)
Office Hours ก่อนสอบกลางภาค นักศึกษาสามารถนัดวันเข้ามาปรึกษาได้
สอบปลายภาค : วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2561 เวลา 15.30-18.30 น. ณ ห้อง RB5102 / หากนักศึกษาไม่ใส่ชุดนักศึกษาตามระเบียบ มช. กรรมการคุมสอบมีสิทธิ์ที่ไม่ให้นักศึกษาเข้าสอบ ในกรณีที่อนุญาตให้เข้าสอบได้จะมีการหักคะแนนสอบ / ให้ นศ. เตรียมดินสอ 2B และยางลบ สำหรับการสอบด้วย
แหล่งข้อมูลประกอบการเรียนการสอน :
1) เอกสารทั่วไปเกี่ยวกับกระบวนวิชา
- รายละเอียดกระบวนวิชา 201117 (ไฟล์ PDF)
- ใบประชาสัมพันธ์กระบวนวิชา 201117 (ไฟล์ PDF)
- ข้อตกลงรายวิชา 201117 (ไฟล์ PDF)
- ข้อตกลงการจัดทำผลงาน กระบวนวิชา 201117 (ไฟล์ PDF)
- เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมกลุ่มในห้องเรียนโดยเพื่อนร่วมกลุ่ม (ไฟล์ PDF)
- ไฟล์สำหรับกรอกรายชื่อสมาชิกในกลุ่มและข้อมูลการทำรายงานหรือผลงาน (ไฟล์ Excel, ไฟล์ PDF)
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยเครื่องแบบนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ.2555
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยการสอบของนักศึกษา พ.ศ.2554
- ประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง เงื่อนไขการมีสิทธิ์ได้รับการวัดและประเมินผลในกระบวนวิชา
- การ์ตูนประวัติศาสตร์ไทยในมิติคณิตศาสตร์ – เนื้อหาทั้งหมดสามารถออกสอบกลางภาคได้ (มีบริการที่ร้านถ่ายเอกสารด้วย)
2) วีดีทัศน์ประกอบการสอน และลิงค์น่าสนใจ
- วีดีทัศน์ “คณิตศาสตร์กับการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่” (ออกสอบกลางภาคด้วย)
- บทความ “เสาหลักเมืองแทนทฤษฏีพิทากอรัสได้อย่างไร” – อ่านเสริมสำหรับคนที่ต้องการศึกษาที่มาของการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่อย่างลึกซึ้ง
3) ตัวอย่างรายงานหรือผลงานสำหรับวิชา 201117
- ชมผลงานนักศึกษาในหลายรุ่นที่ผ่านมา (คัดเลือกมาแล้ว)
- บทความ “น้ำบ่อหลวงในมุมมองของนักคณิตศาสตร์”
- รายงานเรื่อง “กฏหมายในมิติคณิตศาสตร์” – ผลงานนักศึกษา ภาคเรียนที่ 3/2556
- วีดีทัศน์ “คณิตศาสตร์กับการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่”
- วีดีทัศน์ “จิตรกรรมวัดอุโมงค์อันล้ำค่าแห่งล้านนา”
- กิจกรรมการเรียนรู้ สร้างกิจกรรมที่นำไปสอนนักเรียน หรือ/และ นักศึกษาได้ ยกตัวอย่างเช่น กิจกรรมถอดรหัสตัวเลขในฤกษ์ก่อสร้าง ดูตัวอย่างงานที่ทำเสร็จแล้วหลายเรื่องได้ที่ https://goo.gl/UHovWi และ https://goo.gl/Xych4X
4) เอกสารอ้างอิงในกระบวนวิชานี้
- ลอย ชุนพงษ์ทอง, ปฏิทินไทยเชิงดาราศาสตร์ และคณิตศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 1, รัฐยาการพิมพ์, 2550.
- สมัย ยอดอินท์ และคณะ, งานวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่องการเป็นหรือไม่เป็นปีอธิกมาสของปฏิทินจันทรคติไทย ปี พ.ศ. 2555, พิมพ์ครั้งที่ 1, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2555.
- สมัย ยอดอินทร์ และมัลลิกา ถาวรอธิวาสน์, ภาพรวมของคณิตศาสตร์, ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548.
- วินัย พงศ์ศรีเพียร, วันวาร กาลเวลา และนานาศักราช, พิมพ์ครั้งที่ 2, ศักดิโสภณการพิมพ์, 2552.
- ประมวล เพ็งจันทร์ และชัชวาล บุญปัน, สังขยาปกาสกฎีกา อุปกรณ์แห่งการหยั่งรู้ถึงความจริงจากโลกวิทยาศาสตร์พุทธศาสนา, บทความ, 2543.
- โทนี่ คริลลี่, 20 คำถามสำคัญของคณิตศาสตร์. The Big Questions : Mathematics. กรุงเทพฯ : มติชน, 2555.
- Robert Blitzer, Thinking Mathematically, 3rd ed., Pearson Education,2005.
- ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์. (2551). ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์. พิมพ์ครั้งที่ 3. ISBN 9749619706 (239 หน้า)
- จิราภรณ์ อรัณยภาค. เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง เทคนิคการตรวจพิสูจน์โบราณวัตถุและศิลปวัตถุประเภทประติมากรรมหิน. ในโครงการพัฒนาบุคลากร สำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. (22 หน้า)
- สายันต์ ไพรชาญจิตร์. (2548). การจัดการโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถาน โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. นนทบุรี : วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า. ISBN 974-449-207-4 (140 หน้า)
- มรดกไทย–มรดกโลก. (2543). สำนักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. ISBN 974-418-107-9 (100 หน้า)
- สมโชคิ อ๋องสกุล. (2558). ชุมชนช่างในเวียงเชียงใหม่ : ประวัติศาสตร์ชุมชน. ศูนย์ล้านนาศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ISBN 978-616-398-012-0 (266 หน้า)
- Goffer, Zvi, Archaeological Chemistry, v.55, New York, John Wiley & Sons, Inc., 1980.
- Pollard, A.M., et al, Analytical chemistry in archaeology, Cambridge, New York: Cambridge University Press, 2007.
- Walker, Mike (2005). Quaternary Dating Methods (PDF). Chichester: John Wiley & Sons. ISBN 978-0-470-86927-7.
- คลิปวิดีโอ Secrets of the Castle with Ruth, Peter and Tom ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=-4NJxb2kn6I
- คลิปวิดีโอ ไขความลับของมัมมี่ ตอนที่ 1 ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=1Lhp8rpbzWo
5) ความรู้เพิ่มเติม
- ห้องปฏิบัติการวิจัยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- โครงการประวัติศาสตร์บูรณาการในมิติคณิตศาสตร์ โดย ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์
- โครงการประวัติศาสตร์บูรณาการในมิติวิทยาศาสตร์ โดย ดร.ศิริวรรณ เกตตะพันธุ์
- โครงการบูรณาการคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ล้านนา โดย ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์ และ ดร.ศิริวรรณ เกตตะพันธุ์
- การนำคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาศึกษาทางโบราณคดี ณ วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) โดยทีมงานวิจัยห้องปฏิบัติการวิจัยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ข้อเท็จจริง/เรื่องควรรู้ เกียวกับหมวกนิรภัย – ขอแนะนำให้ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ทุกคนได้อ่าน