กระบวนวิชา 201117

Mathematics and Science in Civilization (คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์กับอารยธรรม)

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559


  • ขอให้นักศึกษาไปประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอนที่ CMU MIS ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ new[1]
  • ดูคะแนนเก็บ 65% ได้แล้วนะครับ new[1]new[1]

ลำดับที่นักศึกษาจากเว็บไซต์สำนักทะเบียน :


ผู้สอน : อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

อาจารย์ ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์
ห้องพัก: MB 2304 (ตึกคณิตศาสตร์ ชั้น 3)
โทรศัพท์: (053) 94-332ุ6 ต่อ 108
อีเมล์: kettapun[at]gmail.com
Facebook: Atichart Kettapun
เว็บไซต์: www.atichart.com

อาจารย์ ดร.คมสันติ โชคถวาย
ห้องพัก: PB1-338 (ตึกฟิสิกส์1 ชัน 3)
โทรศัพท์: (053) 94-3367
อีเมล์: komsanti.chokethawai[at]cmu.ac.th
Facebook: Aj Kom


Facebook Group ของรายวิชา : 201117 1/2559

วันเวลาที่สอน : อังคารและศุกร์ เวลา 11.00-12.30 น.
  • ก่อนสอบกลางภาค เรียนที่ห้อง Smart Classroom ของสถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ (ITSC) ทั้งนี้ห้องเรียนอยู่ใกล้กับธนาคารกสิกรไทย สาขามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (หน้า มช.)
  • หลังสอบกลางภาค ห้อง RB5201

Office Hours : นักศึกษาสามารถนัดพบผู้สอนได้โดยตรง

สัดส่วนการให้คะแนน:

  1. คะแนนกิจกรรมในห้องเรียน (Class Activities)   15 %
  2. คะแนนสอบกลางภาค (Midterm Exam)            20 %
  3. คะแนนสอบย่อย (Quiz)                                         10 %
  4. คะแนนสอบปลายภาค (Final Exam)                   25 %
  5. รายงาน/ผลงาน (Project)                                    30 %

ประกาศคะแนนเก็บและคะแนนสอบ : คะแนนเก็บ 65% new[1] แผนภาพแสดงคะแนนในภาพรวมnew[1]

สอบกลางภาค :  วันพุธที่ 5 ตุลาคม  2559  เวลา 12.00-15.00 น. ณ RB3406 / หากนักศึกษาไม่ใส่ชุดนักศึกษาตามระเบียบ มช. กรรมการคุมสอบมีสิทธิ์ที่ไม่ให้นักศึกษาเข้าสอบ ในกรณีที่อนุญาตให้เข้าสอบได้จะมีการหักคะแนนสอบ / ให้ นศ. เตรียมดินสอ 2B และยางลบ สำหรับการสอบด้วย อนุญาตให้เอาเฉพาะเครื่องคิดเลขธรรมดาเข้าห้องสอบ (ห้ามนำเครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์เข้าห้องสอบ)

Office Hours ก่อนสอบกลางภาค คือ วันจันทร์ที่ 3 ตุลาคม 59 เวลา 10.00-12.00 น. และ วันอังคารที่ 4 ตุลาคม 59 เวลา 09.30-11.00 น. โดย ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์ ณ ห้อง MB2101 ภาควิชาคณิตศาสตร์ (ไม่ใช่การติว แต่เป็นการตอบคำถามที่สงสัย)

สอบปลายภาค : วันจันทร์ที่ 12 ธันวาคม 2559 เวลา 15.30-18.30 น.

แหล่งข้อมูลประกอบการเรียนการสอน :

1) เอกสารทั่วไปเกี่ยวกับกระบวนวิชา

2) วีดีทัศน์ประกอบการสอน และลิงค์น่าสนใจ

3) ตัวอย่างรายงานหรือผลงานสำหรับวิชา 201117

  • xxx

4) เอกสารอ้างอิงในกระบวนวิชานี้

  • ลอย ชุนพงษ์ทอง, ปฏิทินไทยเชิงดาราศาสตร์ และคณิตศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 1, รัฐยาการพิมพ์, 2550.
  • สมัย ยอดอินท์ และคณะ, งานวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่องการเป็นหรือไม่เป็นปีอธิกมาสของปฏิทินจันทรคติไทย ปี พ.ศ. 2555, พิมพ์ครั้งที่ 1, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2555.
  • สมัย ยอดอินทร์ และมัลลิกา ถาวรอธิวาสน์, ภาพรวมของคณิตศาสตร์, ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548.
  • วินัย พงศ์ศรีเพียร, วันวาร กาลเวลา และนานาศักราช, พิมพ์ครั้งที่ 2, ศักดิโสภณการพิมพ์, 2552.
  • ประมวล เพ็งจันทร์ และชัชวาล บุญปัน, สังขยาปกาสกฎีกา อุปกรณ์แห่งการหยั่งรู้ถึงความจริงจากโลกวิทยาศาสตร์พุทธศาสนา, บทความ, 2543.
  • โทนี่ คริลลี่, 20 คำถามสำคัญของคณิตศาสตร์. The Big Questions : Mathematics. กรุงเทพฯ : มติชน, 2555.
  • Robert Blitzer, Thinking Mathematically, 3rd ed., Pearson Education, 2005.
  • Goffer, Zvi, Archaeological Chemistry, v.55, New York, John Wiley & Sons, Inc., 1980.
  • Pollard, A.M., et al, Analytical chemistry in archaeology, Cambridge, New York: Cambridge University Press, 2007.

5) ความรู้เพิ่มเติม

  • ห้องปฏิบัติการวิจัยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • โครงการประวัติศาสตร์บูรณาการในมิติคณิตศาสตร์ โดย ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์
  • โครงการประวัติศาสตร์บูรณาการในมิติวิทยาศาสตร์ โดย ดร.ศิริวรรณ เกตตะพันธุ์
  • โครงการบูรณาการคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ล้านนา โดย ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์ และ ดร.ศิริวรรณ เกตตะพันธุ์
  • การนำคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาศึกษาทางโบราณคดี ณ วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) โดยทีมงานวิจัยห้องปฏิบัติการวิจัยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ข้อเท็จจริง/เรื่องควรรู้ เกียวกับหมวกนิรภัย – ขอแนะนำให้ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ทุกคนได้อ่าน